มะเร็งลำไส้เรื่องราวของผู้ป่วย
ผู้ป่วยจากหลากหลายประเทศทั่วโลก พวกเขาต่างก็มีประสบการณ์และทรมานจากความเจ็บปวดจากโรคมะเร็ง อย่างไรก็ตาม ด้วยการรักษาที่มีประสิทธิภาพและการดูแลอย่างเอาใจใส่ของโรงพยาบาลสแตมฟอร์ดมะเร็งกว่างโจว พวกเขากลับมามีความมั่นใจในการใช้ชีวิตและกลายเป็นนักสู้ต่อโรคมะเร็ง พวกเขามาแบ่งปันประสบการณ์ต้านมะเร็ง ความรัก และความอบอุ่นกับทุกคนกันที่นี่
มะเร็งกล่องเสียง
- คุณประสิทธิ์
- ประเทศไทยมีชีวิตอยู่รอดมานานกว่า 12 ปี
ก่อนเข้ารับการรักษาหลังจากเข้ารับการรักษาไปหนึ่งครั้งปี 2017 4เมษายน เป็นครั้งแรกที่ได้ทานอาหารไทยในประเทศจีน คุณประสิทธิ์มีความสุขมาก ดูเหมือนว่าเขาจะกินปลาไปเกือบทั้งตัว “อาหารมื้อนี้เป็นอาหารที่ดีที่สุดมื้อหนึ่งเท่าที่ผมเคยกินมาในรอบ 4 ปี!” เขาได้กล่าวออกมาอย่างพึงพอใจหลังจากรับประทานอาหารเย็นเสร็จแล้ว เนื่องจากก้อนเนื้อขนาดใหญ่บริเวณคอ ทำให
โรคมะเร็งปอด
- คุณฮวางยุ่ยเซียน
- ประเทศไทยมีชีวิตอยู่รอดมานานกว่า 5 ปี
ความสัมพันธ์ระยะเวลา 8 ปี ระหว่างคุณฮวางยุ่ยเซียนผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองกับคุณหมอและพยาบาล
โรคมะเร็งปอด
- คุณเฉิน
- ประเทศไทยมีชีวิตอยู่รอดมานานกว่า 5 ปี
เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2016 คุณเฉิน โหย่วเมี่ยน ผู้ป่วยมะเร็งตับ ได้กลับเข้ามาตรวจร่างกายกับรพ.มะเร็งสมัยใหม่กว่างโจวแสตมฟอร์ด เป็นครั้งที่ 7 นับเป็นเวลา 1 ปีที่ผลการตรวจเหมือนเดิมกับเหมือนปีก่อนหน้า โดยผลตรวจที่ออกมาพบว่าเป็นที่น่าพอใจต่อทั้งแพทย์เจ้าของไข้และตัวของผู้ป่วยเอง ซึ่งการเทคนิคแบบบาดแผลเล็กทำให้ผู้ป่วยท่านนี้มีร่างกายแข็งแรงดังเดิม
โรคมะเร็งปอด
- คุณอนามิดา
- ประเทศไทยมีชีวิตอยู่รอดมานานกว่า 5 ปี
เดือนพฤษภาคมถือได้ว่าเป็นเดือนแห่งความชุ่มฉ่ำของเมืองกว่างโจว หลังจากฝนหยุดแล้วเมืองนี้จะถูกปกคลุมหมอกไอเย็น แต่ทว่าภายในชั้นห้าแผนกผู้ป่วยภายในรพ.มะเร็งสมัยใหม่กว่างโจวแสตมฟอร์ด กลับถูกปกคลุมไปด้วยความอบอุ่นและความรักจากใจผู้ป่วย ในวันที่ถึงกำหนดออกจากรพ.ผู้ป่วยหญิงสาวชาวไทยรายหนึ่งเธอได้ลงมือทำอาหารมื้อสำคัญด้วยตนเองเพื่อแทนคำขอบคุณสำห
โรคมะเร็งปอด
- คุณหลี่หลงผิง
- ประเทศไทยมีชีวิตอยู่รอดมานานกว่า 5 ปี
คุณเพิงเสี่ยวชื่อ หัวหน้าคณะผู้เชี่ยวชาญรพ.มะเร็งสมัยใหม่กวางโจว สมาชิกคณะแพทย์สภา เป็นผู้สนับสนุนการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งด้วยเทคนิคแบบบาดแผลเล็กและเทคนิคแบบอื่นๆ ในฐานะนายแพทย์ผู้ศึกษาวิจัยเรื่องมะเร็งมาแล้วกว่า 30 ปี ทำให้มีประสบการณ์เฉพาะทางด้านการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งมะเร็ง ไม่ว่าจะเป็นการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็งด้วยวิธีการคีโมเฉพาะจุด หรือ เท
โรคมะเร็งปอด
- คุณเหลียว เจี้ยนฝู
- ประเทศไทยมีชีวิตอยู่รอดมานานกว่า 5 ปี
จากข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุขไทยในปี พ.ศ.2561 อุบัติการณ์ของมะเร็งกระเพาะอาหารประมาณ 17.3/10หมื่นคน และอัตราการเสียชีวิตประมาณ 12.2/10หมื่นคน อุบัติการณ์ของมะเร็งปอดประมาณ 39.8/10หมื่นคน และอัตราการเสียชีวิตประมาณ 34.0/10หมื่น อัตราการเกิดมะเร็งต่อมลูกหมากในผู้ชายประมาณ 21.7/10หมื่นคน และอัตราการเสียชีวิตประมาณ 5.7/10หมื่นคนในผู้ชาย อัตราการเกิดมะเร็งหลังโพรงจมูกประมาณ 3.0/10หมื
โรคมะเร็งปอด
- คุณหวัง ยูฮวา
- ประเทศไทยมีชีวิตอยู่รอดมานานกว่า 5 ปี
จากข้อมูลของสถาบันมะเร็งแห่งประเทศไทย อุบัติการณ์ของโรคมะเร็งเต้านมในประเทศไทยในปี พ.ศ.2563 อยู่ที่ 47.8/10หมื่น และอัตราการเสียชีวิต 10.7/10หมื่น อุบัติการณ์ของมะเร็งปากมดลูกคือ 18.2/10หมื่น และอัตราการเสียชีวิตคือ 7.8 /10หมื่น. อุบัติการณ์ของมะเร็งรังไข่คือ 13.4/10หมื่น และอัตราการเสียชีวิตคือ 7.6/10หมื่น
มะเร็งลำไส้ มีอาการต่าง ๆ
1.อุจจาระเป็นเลือด
อาการหลักของมะเร็งลำไส้คืออุจจาระเป็นเลือด เลือดที่ปรากฏออกมาจะมีสีแดงหรือสีแดงสด ซึ่งอาการเช่นนี้จะคล้ายคลึงกับเป็นริดสีดวงทวารช่วงแรกมาก หลังจากนั้นเลือดในอุจจาระจะมีสีแดงเข้ม แสดงให้เห็นว่าอุจจาระมีส่วนผสมของน้ำมูกเลือดหรือเป็นหนองออกมาด้วย ผู้เชี่ยวชาญจากโรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กว่างโจวแนะนำว่า เมื่อพบว่าอุจจาระมีเลือดปนควรไปโรงพยาบาลทำการตรวจอุจจาระหรือตรวจลำไส้ทันที
2.ลักษณะรูปร่างของอุจจาระเปลี่ยนหรือระบบในการขับถ่ายเปลี่ยนไป
ระบบในการขับถ่ายแต่ละวันเปลี่ยนไปก็เป็นอาการหนึ่งของมะเร็งลำไส้ เนื่องด้วยก้อนเนื้อบริเวณลำไส้หรือสารคัดหลั่งอื่นๆ ที่เกิดขึ้นมากระตุ้นลำไส้และกระเพาะ ดังนั้นผู้ป่วยมะเร็งลำไส้จะมีอาการเข้าห้องน้ำบ่อย มีความรู้สึกเหมือนถ่ายไม่สุด อีกทั้งรูปร่างของอุจจาระก็มีการเปลี่ยนแปลง คือมีรูปร่างเล็ก แบนหรือมีรูพรุน ซึ่งหากพบอาการเหล่านี้แนะนำให้ไปที่โรงพยาบาลเพื่อทำการส่องกล้องตรวจดูอาการ เพื่อที่จะได้ไม่พลาดโอกาสที่ดีที่สุดไป
3.ลำไส้มีการอุดตัน
เนื่องจากก้อนเนื้อจะใหญ่ขึ้นปิดบังผนังลำไส้ ทำให้ช่องลำไส้เล็กลง โดยเฉพาะจุดที่มาบรรจบกันของลำไส้ตรงและลำไส้ใหญ่ส่วนคด ง่ายต่อการเกิดการอุดตันของลำไส้ นอกจากนี้เนื่องด้วยเป็นโรคเรื้อรัง ก็จะทำให้กลายเป็นโรคร้ายที่ลามไปทั้งตัวของผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ได้ และอาจมีอาการโลหิตจาง ผอมซูบ ไม่มีแรง และเบื่ออาหารโดยไม่มีสาเหตุ
มะเร็งลำไส้ วิเคราะห์
อาการเริ่มแรกของมะเร็งลำไส้จะไม่เด่นชัด ทำให้ผู้ป่วยละเลยได้ง่าย อีกทั้งตอนที่ไปตรวจกับคุณหมอก็มักจะดำเนินการทางการแพทย์ไปปกติ โดยคิดว่าเป็นแค่โรคบิด โรคลำไส้อักเสบ เหล่านี้เป็นต้น แต่พอพบว่ามีการอุดตันของลำไส้หรือคลำแล้วพบก้อนเนื้อตรงช่วงท้อง ก็มักจะพบว่าเป็นมะเร็งลำไส้ในระยะกลางหรือระยะสุดท้ายแล้ว ดังนั้นการวินิจฉัยมะเร็งลำไส้จึงสำคัญมาก การวินิจฉัยที่แม่นยำสามารถยกระดับผลลัพธ์ทางการแพทย์ได้

การวินิจฉัยมะเร็งลำไส้มีอะไรบ้าง
1. การตรวจอุจจาระทางแล็บ : เซลล์ของเนื้องอกที่ขยายออกมามักจะมีเลือดซึม และเมื่อเลือดเข้าไปในส่วนของอุจจาระก็จะถูกขับถ่ายออกมาด้วย การตรวจอุจจาระทางแล็บสามารถเช็คส่วนประกอบของเลือดในปริมานเพียงเล็กน้อยที่ติดมากับอุจจาระได้ และหากผลตรวจออกมาในทางลบหลายครั้งหรือเป็นประจำ และพบว่าระบบทางเดินอาหารมีเลือดออกเรื้อรัง ต้องทำการตรวจขั้นต่อไป เพื่อดูว่ามีก้อนเนื้อบริเวณกระเพาะหรือลำไส้หรือไม่
2.การตรวจลำไส้ตรง : หลังจากที่คุณหมอใส่ถุงมือเรียบร้อย ก็จะทายาหล่อลื่นบริเวณรูทวารและนิ้วชี้ จากนั้นจะสอดนิ้วชี้เข้าไปตรงรูทวารเพื่อตรวจดูว่ามีก้อนเนื้อหรือไม่
3.การส่องกล้อง : การส่องกล้องเป็นขั้นตอนสำคัญที่สุดของการตรวจมะเร็งลำไส้ เมื่อมีอาการอุจจาระมีเลือดหรือระบบขับถ่ายเปลี่ยนแปลงไป แต่ตรวจด้วยการตรวจลำไส้ตรงแล้วไม่พบสิ่งผิดปกติใดใด ก็ควรจะทำการตรวจด้วยการส่องกล้องตรวจทางทวารหนักหรือการส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่และทวารหนัก
(1) การส่องกล้องตรวจทางทวารหนัก : เป็นวิธีที่ง่ายและสะดวก ความยาวสุดอยู่ที่ 30 ซม. หลังจากที่ส่องแล้วสามารถตรวจชิ้นเนื้อต่อ เหมาะกับการตรวจความเปลี่ยนแปลงส่วนที่ถัดจากการตรวจทางทวารหนัก
(2) การส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่และทวารหนัก : ยาว 120 - 180 ซม. โค้งงอได้ สามารถตรวจดูลำไส้ใหญ่ได้ทั้งหมด ทำการผ่าตัดโดยการส่องกล้อง การตรวจการแข็งตัวของเลือดหรือการตรวจชิ้นเนื้อได้ซึ่งสามารถพบการเปลี่ยนแปลงได้โดยเร็ว หากยากต่อการวินิจฉัยสามารถใช้วิธีนี้ช่วยได้ ดังนั้นแล้วหากพบว่ามีอาการคล้ายกับมะเร็งลำไส้ ควรรีบไปโรงพยาบาลเพื่อตรวจเช็คทันที
4.การตรวจด้วยเอ็กซเรย์: การตรวจนี้รวมไปถึงการสวนแบเรียมที่ระบบทางเดินอาหารและลำไส้ การตรวจด้วยการสวนแบเรียมไปที่ลำไส้เป็นประโยชน์กับผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ และสำหรับจุดก่อกำเนิดโรคที่เล็กก็สามารถถ่ายภาพเปรียบเทียบโดยฉีดก๊าซสำหรับแบเรียมเข้าไปซึ่งได้ผลการตรวจที่มีประสิทธิภาพ การเอ็กซเรย์ยังสามารถแสดงภาพทั้งหมดของลำไส้และดูว่ามีติ่งเนื้อหรือมีการลุกลามหรือไม่ได้อีกด้วย
5. การอัลตราซาวด์ ซีทีสแกนหรือการตรวจ MRI : การตรวจด้วยวิธีเหล่านี้ไม่สามารถวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งโดยตรงได้ แต่สามารถบอกตำแหน่งขนาดและความสัมพันธ์กับเซลล์รอบข้างของมะเร็งได้ การดูว่ามีการลามไปที่ต่อมน้ำเหลืองหรือตับหรือไม่มีประโยชน์อย่างมาก ทำให้แพทย์สามารถกำหนดแนวทางให้กับผู้ป่วยโรคมะเร็งลำไส้ได้
6. ค่าสารบ่งชี้มะเร็ง (CEA) :การหาค่าสารบ่งชี้มะเร็ง (CEA) เป็นวิธีที่แพร่หลาย เป็นวิธีสำคัญวิธีหนึ่งในการตรวจหามะเร็งลำไส้ โดยทั่วไปถือว่าการประเมินผลลัพธ์และการคาดการณ์ที่มีประโยชน์ การตรวจหาค่าอย่างต่อเนื่องสามารถแสดงผลลัพธ์ของการทำคีโมหรือการผ่าตัดได้
ผู้เชี่ยวชาญจากโรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กว่างโจวเตือนว่า หากพบว่าอุจจาระมีเลือดหรือระบบการขับถ่ายเปลี่ยนไปจากเดิม ควรรีบไปโรงพยาบาลตรวจร่างกายเพื่อไม่ให้พลาดโอกาสที่ดีที่สุดไป
มะเร็งลำไส้ ตก แต่ง
ตามสถิติของศูนย์มะเร็งแห่งประเทศไทย ระยะขั้นของมะเร็งลำไส้ใหญ่ตลอดจนอัตราการรอดชีวิตอยู่ที่ 5 ปีดังนี้:
มะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะ 1:85%--95%;
มะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะ 2:60%--80%;
มะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะ 3:30%--60%;
มะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะ 4:ต่ำกว่า 5%。
แผนการรักษามะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะ 0 :การส่องกล้องเพื่อหาเซลล์มะเร็งและผ่าตัดนำติ่งเนื้อในลำไส้ออก
มะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะ 1 :T1-T2, N0, M0——เซลล์มะเร็งได้ลุกลามไปยังบริเวณเมือกลำไส้จนถึงชั้นผิวของลำไส้
มะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะ 2 :T3—T4, N0, M0——เซลล์มะเร็งได้ลุกลามไปยังบริเวณเยื่อหุ้มลำไส้หรือบริเวณรอบๆลำไส้และอวัยวะส่วนอื่น
มะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะ 3 :ระยะ T อื่นๆ, N1-N3, M0——เซลล์มะเร็งได้ลุกลามไปยังบริเวณต่อมน้ำเหลือง
มะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะ 4 :ระยะ T อื่นๆ, N1-N3, M0——เซลล์มะเร็งได้ลุกลามไปยังบริเวณอวัยวะส่วนอื่น
เทคนิคแพทย์แผนจีนและตะวันตก
การกำเริบของโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ :การกำเริบของมะเร็งหลังการรักษา จะพบได้ที่บริเวณปลายลำไส้ใหญ่ ไส้ตรง หรือส่วนอื่นในร่างกาย